แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพอำเภออุบลรัตน์ จังหวัดขอนแก่น ประจำปี 2561-2564
วิสัยทัศน์ คปสอ.อุบลรัตน์ จังหวัดขอนแก่น |
“ บริการมีคุณภาพด้วยหัวใจความเป็นมนุษย์ ชุมชนเข้มแข็ง ยั่งยืน”
พันธกิจ
1. สร้างสุขภาพ ป้องกัน ควบคุมโรค ภัยสุขภาพ อนามัยสิ่งแวดล้อม และคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ
2. พัฒนาระบบริการสุขภาพให้มีคุณภาพ ประสิทธิภาพและเป็นธรรม
3.สร้างเครือข่ายชุมชนเข้มแข็งสู่การมีคุณภาพชีวิตชีวิตและสิ่งแวดล้อมดีอย่างยั่งยืน
4. พัฒนาระบบบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาล
5. พัฒนาบุคลากรให้มีสมรรถนะ มีความสุขในการทำงานและส่งเสริมการมีส่วนร่วมทุกภาคส่วนในการดูแลและจัดการระบบสุขภาพ
พันธกิจ – ประเด็นยุทธศาสตร์
พันธกิจ |
ประเด็นยุทธศาสตร์ |
1. สร้างสุขภาพ ป้องกัน ควบคุมโรค ภัยสุขภาพและคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ
|
1. สร้างเสริมสุขภาพ เฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและพัฒนาการคุ้มครองผู้บริโภค ให้มีประสิทธิภาพ |
|
|
|
|
2. พัฒนาระบบบริการสุขภาพให้มีคุณภาพ ประสิทธิภาพ และเป็นธรรม
|
2. พัฒนาคุณภาพงานบริการตามมาตรฐาน ลดความแออัดและจัดระบบบริการ ในเครือข่ายแบบไร้รอยต่อ |
|
|
3. สร้างเครือข่ายชุมชนเข้มแข็งสู่การมีคุณภาพชีวิตชีวิตและสิ่งแวดล้อมดีอย่างยั่งยืน |
3. สนับสนุนให้เกิดชุมชนเข้มแข็งสู่การมีคุณภาพชีวิตชีวิตและสิ่งแวดล้อมดีอย่างยั่งยืน |
4. พัฒนาระบบบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาล
|
4. พัฒนาระบบบริหาร การจัดการทางการเงิน ระบบสารสนเทศและยุทธศาสตร์ และการวิจัยและนวัตกรรมององค์กร เพื่อสนับสนุนการให้บริการ |
5. พัฒนาบุคลากรให้มีสมรรถนะมีความสุขในการทำงาน และส่งเสริมการมีส่วนร่วมทุกภาคส่วนในการดูแล และจัดการระบบสุขภาพ
|
5. พัฒนาบุคลากรให้มีสมรรถนะมีความสุขในการทำงานและสร้างความเข็มแข็ง ในภาคประชาสังคม |
ประเด็นยุทธศาสตร์-เป้าประสงค์ |
ประเด็นยุทธศาสตร์ |
เป้าประสงค์ |
1. สร้างเสริมสุขภาพ เฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรค พัฒนาการคุ้มครองผู้บริโภค และการจัดการ |
1. ประชาชนทุกกลุ่มวัยมีสุขภาพดีและปัญหาสุขภาพในพื้นที่ลดลง |
2. ระบบการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรค และตอบโต้ภาวะฉุกเฉินโรคและภัยสุขภาพที่มีประสิทธิภาพ |
|
สิ่งแวดล้อมให้มีประสิทธิภาพ |
3. ลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพและการเจ็บป่วยของประชาชน |
|
4. มีระบบงานคุ้มครองผู้บริโภคและการบริหารจัดการสิ่งแวดล้อมที่มีประสิทธิภาพ |
2. พัฒนาคุณภาพสถานบริการตามมาตรฐาน ลดความแออัดและจัดระบบบริการในเครือข่าย แบบไร้รอยต่อ |
5. สถานบริการสุขภาพมีศักยภาพในการให้บริการตามมาตรฐาน Service Plan ของกระทรวง สาธารณสุข ลดความแออัดในระดับ Secondary care และมีการส่งต่อผู้ป่วยอย่างมีประสิทธิภาพ |
6. สถานบริการสุขภาพผ่านการรับรองรองคุณภาพตามมาตรฐาน |
|
3. สนับสนุนให้เกิดชุมชนเข้มแข็งสู่การมีคุณภาพชีวิตชีวิต และสิ่งแวดล้อมดีอย่างยั่งยืน |
7. ชุมชนผ่านเกณฑ์ 5 ส |
4.พัฒนาระบบบริหาร การจัดการทางการเงิน ระบบสารสนเทศและยุทธศาสตร์ การวิจัยและนวัตกรรมขององค์กร เพื่อสนับสนุนการให้บริการ |
8. มีการจัดการที่ประสิทธิภาพ โปร่งใสตรวจสอบได้ และบังคับใช้กฎหมายอย่างมีประสิทธิภาพ |
|
9. สถานบริการด้านสุขภาพมีสถานะทางการเงินที่เหมาะสม |
|
10. ระบบข้อมูล แผนยุทธศาสตร์และการประเมินผลยุทธศาสตร์ที่มีประสิทธิผล |
|
11. มีนวัตกรรมในการให้บริการสุขภาพและด้านการบริหารงาน |
5. พัฒนาบุคลากรให้มีสมรรถนะมีความสุขในการ ทำงานและพัฒนาข้อมูลและส่งเสริมให้เกิดนวัตกรรม |
12. บุคลากรมีสมรรถนะที่เหมาะสมในการปฏิบัติราชการ และมีความสุขในการปฏิบัติงาน มีความรักสามัคคีในองค์กร |
|
13.เครือข่ายภาคประชาสังคมมีความเข้มแข็ง |
เป้าประสงค์- ตัวชี้วัด
เป้าประสงค์ |
ตัวชี้วัด |
เป้าหมาย |
Baseline ปี60 |
ปี 2561 |
ปี2562 |
ปี2563 |
ปี2564 |
ปี2565 |
1. ประชาชนทุกกลุ่มวัยได้รับการสร้างเสริมสุขภาพ เพื่อแก้ไขปัญหาสุขภาพที่สำคัญของพื้นที่
|
1. อัตราส่วนการตายมารดาไทย |
≤15:เกิดมีชีพแสนคน |
0 |
0 |
0 |
0 |
|
|
2. ร้อยละของเด็ก 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย |
≥85% |
70 |
73.68 |
99.61 |
99.91 |
|
|
|
3. ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน และส่วนสูงเฉลี่ยที่อายุ 5 ปี |
56% |
50 |
55.50 |
58.73 |
70.38 |
|
|
|
4. ร้อยละของเด็กวัยเรียน สูงดีสมส่วน |
70% |
60 |
66.3 |
70.95 |
93.55 |
|
|
|
5. ร้อยละของเด็กกลุ่มอายุ 0-12 ปี ฟันดีไม่มีผุ (cavity free) |
50% |
50 |
50.90 |
53.33 |
60 |
|
|
|
6 .อัตราการคลอดมีชีพในหญิงอายุ 15-19 ปี พันคน |
35% |
19.85 |
17.77 |
25.38 |
17.76 |
|
|
|
7. ร้อยละของประชาชนที่มีพฤติกรรมสุขภาพพึงประสงค์ |
54% |
45 |
47.06 |
48.08 |
50.52 |
|
|
|
8. ร้อยละของตำบลที่มีระบบส่งเสริมสุขภาพดูแลผู้สูงอายุ ผู้พิการและผู้ด้อยโอกาส และการดูแลระยะยาวในชุมชน (Long Term Care) ผ่านเกณฑ์ |
60% |
2 |
5 |
5 |
6 |
|
|
|
9. ร้อยละของ healthy aging เพิ่มขึ้น |
60% |
40 |
43.01 |
97.41 |
97.34 |
|
|
|
|
10. ร้อยละของตำบลจัดการสุขภาพแบบบูรณาการ 5 กลุ่มวัย |
60% |
100 |
100 |
100 |
100 |
|
|
เป้าประสงค์ |
ตัวชี้วัด |
เป้าหมาย |
Baseline ปี60 |
ปี 2561 |
ปี2562 |
ปี2563 |
ปี2564 |
ปี2565 |
2. มีการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรค และตอบโต้ ภาวะฉุกเฉินโรคและภัยสุขภาพที่มีประสิทธิภาพ
|
11. ร้อยละของอำเภอสามารถควบคุมโรคติดต่อสำคัญของพื้นที่ได้ตามเกณฑ์ |
100% |
100 |
100 |
100 |
100 |
|
|
12. ร้อยละของหน่วยงานมีศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน (EOC) และทีมตระหนักรู้ (SAT) ที่ปฏิบัติงานได้จริง |
1 |
1 |
1 |
1 |
1 |
|
|
|
13. ร้อยละของตำบลในการคัดกรองโรคพยาธิใบไม้ตับ(โครงการพระราชดำริ) |
100% |
100 |
100 |
100 |
100 |
|
|
|
14. อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่และกลับเป็นซ้ำ |
100% |
100 |
100 |
100 |
100 |
|
|
|
15. ร้อยละของกลุ่มประชากรหลักที่เข้าถึงบริการป้องกันโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์เชิงรุก |
50% |
- |
- |
- |
- |
|
|
|
16. ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูงที่ขึ้นทะเบียนได้รับการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจ และหลอดเลือด (CVD Risk) |
≥82.5% |
90 |
91.35 |
93.49 |
93.68 |
|
|
|
|
17. อัตราการเสียชีวิตจากการจมน้ำ ของเด็กอายุน้อยกว่า 15 ปี |
0 |
1 |
1 |
2 |
3 |
|
|
18. อัตราการเสียชีวิตจากการบาดเจ็บทางถนน |
<16/แสน ปขก. |
29.1 |
17.8 |
20.1 |
8.9 |
|
|
|
19.อัตราผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่/แสนปชก. |
<500 |
588.92 |
427.65 |
459.99 |
425.15 |
|
|
|
20. อัตราผู้ป่วยความดันโลหิตสูงรายใหม่/แสนปชก. |
<500 |
2216.85 |
1759.58 |
808.34 |
720.93 |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
||
เป้าประสงค์ |
ตัวชี้วัด |
เป้าหมาย |
Baseline ปี60 |
ปี2561 |
ปี2562 |
ปี2563 |
ปี2564 |
ปี2565 |
|
21. ร้อยละของผู้ป่วยยาเสพติดที่หยุดเสพต่อเนื่อง 3 เดือนหลังจำหน่ายจากการบำบัดรักษา |
90% |
100 |
100 |
100 |
100 |
|
|
22. ร้อยละผู้ป่วยDMและHTได้รับการคัดกรอง CKD |
80% |
57.46 |
58.06 |
63.03 |
62.87 |
|
|
|
4. มีระบบงานคุ้มครองผู้บริโภคและบริหารการจัด การสิ่งแวดล้อมที่มีประสิทธิภาพ
|
23. ร้อยละของผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ได้รับการตรวจสอบได้มาตรฐานตามเกณฑ์ที่กำหนด |
80% |
70 |
75 |
60 |
60 |
|
|
24.มีความสำเร็จของการดำเนินงานอาหารปลอดภัยในรพ. |
100% |
51 |
82.5 |
91 |
94 |
|
|
|
25. ร้อยละของโรงพยาบาลและรพสต.ที่พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมได้ตามเกณฑ์ GREEN&CLEAN Hospital |
1 |
1 |
1 |
1 |
1 |
|
|
|
5. สถานบริการสุขภาพมีศักยภาพในการให้บริการตามมาตรฐาน Service Plan ของกระทรวงสาธารณสุข |
26. มีคลินิกหมอครอบครัว (Primary Care Cluster) |
3 PCT |
1 |
1 |
1 |
1 |
|
|
27. มี District Health System (DHS)คุณภาพ |
1 |
1 |
1 |
1 |
1 |
|
|
|
28. ร้อยละของโรงพยาบาลและ รพ.สต.ที่ใช้ยาอย่างสมเหตุผล |
9แห่ง |
8 |
9 |
9 |
9 |
|
|
|
29. มีการดูแลแบบประคับประคอง (Palliative Care) |
100 |
90 |
95 |
89 |
87.65 |
|
|
|
30. ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานที่ควบคุมได้ |
≥40% |
24.50 |
12.93 |
11.79
|
13.73 |
|
|
|
เป้าประสงค์ |
ตัวชี้วัด |
เป้าหมาย |
Baseline ปี60 |
ปี2561 |
ปี2562 |
ปี2563 |
ปี2564 |
ปี2565 |
|
31. ร้อยละของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมได้ |
≥50% |
33.85 |
36.93 |
49.42 |
61.58 |
|
|
32. ร้อยละของผู้ป่วย CKD ที่มีอัตราลดลงของ eGFR<4ml/min/1.73m/yr |
≥67% |
65.96 |
46.93 |
38.51 |
28.97 |
|
|
|
6.สถานบริการสุขภาพผ่านการรับรองคุณภาพตามมาตรฐาน |
33. โรงพยาบาลผ่านการรับรองคุณภาพโรงพยาบาล (HA) |
1 |
1 |
1 |
1 |
1 |
|
|
34. อำเภออุบลรัตน์ผ่านการรับรองระบบสุขภาพอำเภอเข้มแข็ง (DHSA) |
1 |
1 |
1 |
1 |
1 |
|
|
|
35. ร้อยละของรพ.สต.ใน อำเภอที่ผ่านเกณฑ์ระดับการพัฒนาคุณภาพ (PCA) และ สสอ.ผ่านการพัฒนาคุณภาพ (PMQA) |
1 |
1 |
1 |
1 |
1 |
|
|
|
7. ลดความแออัดในสถานบริการในระดับ Secondary Care ลง มีการส่งต่อผู้ป่วยอย่างมีประสิทธิภาพ |
36. อัตราการเข้ารับบริการผู้ป่วยในซ้ำ (Readmittion rate) |
<2% |
0.75 |
0.59 |
0.94 |
0.96 |
|
|
37. ร้อยละของผู้รับบริการ มีความพึงพอใจต่อการบริการ( Satisfaction Index )ในระดับดีและดีมาก |
>85% |
95 |
96 |
97 |
97 |
|
|
|
8. บุคลากรมีสมรรถนะที่เหมาะสมในการปฏิบัติ |
38. ดัชนีสุขภาวะองค์กร (Happy Workplace Index) |
>80% |
85 |
90 |
90 |
96 |
|
|
9.เครือข่ายภาคประชาสังคมมีความเข้มแข็ง
|
|
เพิ่มขึ้น |
11 |
11 |
11 |
12 |
|
|
เป้าประสงค์ |
ตัวชี้วัด |
เป้าหมาย |
ปี 2560 |
2561 |
2562 |
2563 |
2564 |
2565 |
10. มีการจัดการที่ประสิทธิภาพโปร่งใสตรวจสอบได้ |
39. โรงพยาบาลมีการบังคับใช้กฎหมายด้านสุขภาพ เช่น ม.41 |
1 |
1 |
1 |
1 |
1 |
|
|
11. สถานบริการด้านสุขภาพมีสถานะทางการเงิน |
40. โรงพยาบาลไม่ประสบวิกฤตทางการเงิน (0-1) |
0 |
0 |
0 |
0 |
0 |
|
|
12. มีระบบข้อมูล แผนยุทธศาสตร์ และการประเมินผลยุทธศาสตร์ที่มีประสิทธิผล |
41. CUP อุบลรัตน์มีระดับความสำเร็จของการบริหารยุทธศาสตร์ตามเกณฑ์ที่กำหนด |
1 |
1 |
1 |
1 |
1 |
|
|
13. มีนวัตกรรมในการให้บริการสุขภาพ และด้านการบริหารงาน |
42. CUP อุบลรัตน์มีผลงานวิจัย R2R ด้านสุขภาพที่เผยแพร่ ให้หน่วยงานต่างๆ นำไปใช้ประโยชน์ |
2 |
2 |
2 |
7 |
8 |
|
|
14. ส 1: สังคมไม่ทอดทิ้งกัน |
43. จำนวนผู้พิการที่ได้รับการจ้างงาน 44. จำนวนคนพิการที่มีคุณภาพชีวิตที่ดีหรือมีศักยภาพช่วยเหลือผู้อื่นหรือชุมชน 45. จำนวนคน/งบประมาณ ใช้ในการบำรุงรักษารพ.ประชารัฐ 46.มีจำนวนธุรกิจเพื่อสังคม(CSR)/เงินที่สนับสนุนรพ.ประชารัฐ |
เพิ่มขึ้น เพิ่มขึ้น
10ล้าน/ปี
เพิ่มขึ้น |
30 30
3ล้าน/ปี
มีกลุ่มคนพิการ |
36 36
3ล้าน/ปี
มีกลุ่มคนพิการ |
42 42
3ล้าน/ปี
มีกลุ่มคนพิการ |
35 35
3ล้าน/ปี
Food bank คนพิการ |
|
|
เป้าประสงค์ |
ตัวชี้วัด |
เป้าหมาย |
ปี 2560 |
2561 |
2562 |
2563 |
2564 |
2565 |
15. ส 2: สิ่งแวดล้อมดี |
47. มีเครือข่ายผู้ผลิตและผู้บริโภคผักปลอดสารพิษ
|
เพิ่มขึ้น
|
3 |
3 |
6 |
6 |
|
|
48. มีโครงการธนาคารต้นไม้เพิ่มพื้นที่สีเขียว ลดภาวะโลกร้อน
|
เพิ่มขึ้น |
500,000 |
แจกกล้าไม้ |
700,000 |
750000 |
|
|
|
49. มีการจัดการคัดแยกขยะต้นทางที่ดี มีคุณภาพ |
6ตำบล |
3ตำบล |
5ตำบล |
6ตำบล |
6ตำบล |
|
|
|
16. ส 3: สัมมาอาชีพเต็มพื้นที่ |
50. มีบุคคลต้นแบบ (นายพัน นางพัน) ดำเนินชีวิตแบบเศรษฐกิจพอเพียง |
เพิ่มขึ้น |
101 |
105 |
110 |
111 |
|
|
17. ส 4: สุขภาพดี |
51.คนอุบลรัตน์อายุยืนอายุขัยเฉลี่ย >80ปี |
>80ปี |
75ปี |
75ปี |
75ปี |
75ปี |
|
|
18. ส 5: สมองดี |
52. มีศูนย์เรียนรู้ |
เพิ่มขึ้น |
6 |
20 |
20 |
20 |
|
|